"คุรุสภา" กำหนดประเภทวิชาและสาขาวิชาขาดแคลนด้านอาชีวะและด้านการศึกษา

\"คุรุสภา\" กำหนดประเภทวิชาและสาขาวิชาขาดแคลนด้านอาชีวะและด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน


คณะกรรมการคุรุสภา มีมติเห็นชอบ สาขาขาดแคลน ด้านอาชีวศึกษา จำนวน 98 สาขาวิชา และสาขาขาดแคลนด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 10 สาขาวิชาโดยมีมติเห็นชอบให้ผู้ที่มีคุณวุฒิสาขาขาดแคลนสามารถ ขอหนังสืออนุญาตให้ปฏิบัติการสอน โดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจากคุรุสภา มีอายุ 90 วันเพื่อใช้ในการสมัครสอบครูผู้ช่วยได้ ดังต่อไปนี้



ประเภทวิชา สาขาวิชาขาดแคลน
1.ด้านอาชีวศึกษา
1.1 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม
1 สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
2 สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
3 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง
4 สาขาวิชาโทรคมนาคม
5 สาขาวิชาแมคคาทรอนิกส์
6 สาขาวิชาเครื่องวัดและควบคุม
7 สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม
8 สาขาวิชาเทคนิคการผลิต
9 สาขาวิชช่างกลโรงงาน
10 สาขาวิชาเขียนแบบเครื่องกล
11 สาขาวิชาเครื่องกล
12 สาขาวิชาเครื่องมือกลและซ่อมบำรุง
13 สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ/เทคนิคโลหะ
14 สาขาวิชาแม่พิมพ์พลาสติก
15 สาขาวิชาช่างยนต์
16 สาขาวิชาช่างก่อสร้าง
17 สาขาวิชาโยธา
18 สาขาวิชาช่างสำรวจ
19 สาขาวิชาสถาปัตยกรรม/มัณฑนศิลป์/ออกแบบตกแต่ง
20 สาขาวิชาอุตสาหกรรมเครื่องเรือนและการตกแต่งภายใน
21 สาขาวิชาแม่พิมพ์โลหะ
22 สาขาวิวิชาอุตสาหกรรมต่อเรือ
23 สาขาวิชาพาณิชย์นาวี
24 สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
25 สาขาวิชาอุตสาหกรรมยาง
26 สาขาวิชาเทคโนโลยียางและโพลิเมอร์
27 สาขาวิชาปิโตรเคมี
28 สาขาวิชาการพิมพ์
29 สาขาวิชาการตรวจสอบโดยไม่ทำลาย
30 สาขาวิชาการขุดเจาะน้ำมัน
31 สาขาวิชาเทคโนโลยีแสงและเสียง
32 สาขาวิชาปิโตรเคมี
33 สาขาวิชาเทคนิคพลังงาน
34 สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
35 สาขาวิชาช่างอุตสาหกรรมฐานวิทยาศาสตร์
36 สาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรม
37 สาขาวิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม
38 สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน/พลังงานทดแทน
39 สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบราง/วิศวกรรมขนส่งระบบราง
40 สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์
41 สาขาวิชาช่างเครื่องเรือนและตกแต่ง
1.2 ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
1 สาขาวิชาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว
2 สาขาวิชาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
3 สาขาวิชาการท่องเที่ยว
4 สาขาวิชาการโรงแรม
5 สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
6 สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ/ธุรกิจโรงแรม
1.3 ประเภทวิชาพณิชยกรรม
1 สาขาวิชาเลขานุการ
2 สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ
3 สาขาวิชาการจัดการสำนักงาน
4 สาขาวิชาการตลาด
5 สาขาวิชาบัญชี
6 สาขาวิชาบริหารธุรกิจและพณิชยการ
7 สาขาวิชาโลจิสติกส์
8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
9 สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก
10 สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์
11 สาขาวิชานิติศาสตร์
12 สาขาวิชาการตลาดดิจิตอล (Digital Marketing)
1.4 ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
- สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.5 ประเภทวิชาอุตสาหกรรมสิ่งทอ
1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ
2 สาขาวิชาเสื้อผ้าสำเร็จรูป
3 สาขาวิชาเคมีสิ่งทอ
1.6 ประเภทวิชาเกษตรศาสตร์
1 สาขาวิชาเกษตรอุตสาหกรรม
2 สาขาวิชาช่างกลเกษตร
3 สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตร
4 สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์
5 สาขาวิชาผลิตภัณฑ์ยาง
6 สาขาวิชาพืชศาสตร์
7 สาขาวิชาสัตวศาสตร์
8 สาขาวิชาพืชไร่
9 สาขาวิชาปฐพีวิทยา
10 สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1.7 ประเภทวิชาประมง
1 สาขาวิชาการควบคุมเครื่องจักร (เรือประมง)
2 สาขาวิชาประมงทะเล
3 สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
4 สาขาวิชาแปรรูปสัตว์น้ำ
5 สาขาวิชาอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ
1.8 ประเภทวิชาคหกรรม
1 สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์
2 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์
3 สาขาวิชาเทคโนโลยีการออกแบบเครื่องแต่งกาย
4 สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย
5 สาขาวิชาแฟชั่นและสิ่งทอ
6 สาขาวิชาแฟชั่นและสิ่งทอ
7 สาขาวิชาเสริมสวย (เทคโนโลยีความงาน)
8 สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ/โภชนาการชุมชน
1.9 ประเภทวิชาศิลปกรรม
1 สาขาวิชาวิจิตรศิลป์
2 สาขาวิชาศิลปกรรม
3 สาขาวิชาเซรามิค/เทคโนโลยีเครื่องเคลือบดินเผา
4 สาขาวิชาศิลปหัตถกรรม (รูปพรรณและเครื่องสาน)
5 สาขาวิชาการออกแบบเครื่องประดับอัญมณี
6 สาขาวิชาช่างทองหลวง
7 สาขาวิชาการออกแบบ
8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์
9 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย
10 สาขาวิชาการถ่ายภาพและวิดิทัศน์
11 สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเครื่องหนัง
12 สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมบันเทิง/แอนนิเมชั่น
2. ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
1. สาขาวิชาภาษาสเปน
2. สาขาวิชาภาษาเกาหลี
3. สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
4. สาขาวิชากายภาพบำบัด
5. สาขาวิชากิจกรรมบำบัด
6. สาขาวิชาจิตวิทยาคลีนิค
7. สาขาวิชาแพทย์แผนไทยประยุกต์
8. สาขาวิชาแพทย์ศาสตร์
9. สาขาวิชาเภสัชศาสตร์
10.สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์


ที่มา เว็บไซต์คุรุสภา วันที่ 3 มีนาคม 2558



05/03/2558